งานกลุ่มนักศึกษา

เรื่องชิ้นส่วนเครื่องกล

images

 

 

เครื่องมือกล

cropped-e0b89be0b881e0b983e0b899.jpg

สรุปวิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น 

ความปลอดภัยในงานเครื่องกล

สรุปกฎความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

  1. ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักรทุกส่วน ให้แน่ใจก่อนเปิดเครื่อง
  2. ทดลองเปิดและปิดเครื่อง
  3. ก่อนเปิดเครื่องทำงานต้องแน่ใจว่าได้จัดยึดชิ้นงาน และเครื่องมือตัดไว้แน่น และเรียบร้อยแล้ว
  4. ขณะเครื่องจักรกำลังทำงาน อย่าปรับแต่งเครื่อง หยอดน้ำมัน หรือปัดเศษชิ้นส่วนเพื่อทำความสะอาด
  5. อย่าใช้มือหรือส่วนใด ๆ ของร่างกายหยุดเครื่องจักรแม้จะปิดสวิตช์แล้วก็ตาม
  6. ควรรักษาพื้นที่ปฏิบัติงานให้สะอาด อย่าให้มีคราบน้ำมัน หรือเศษชิ้นงาน
  7. ควรใช้เครื่องจักรเพียงคนเดียว อย่าให้เพื่อนเปิด ปิด เครื่องจักรให้
  8. อย่าเล่นกันระหว่างปฏิบัติงาน
  9. ระหว่างปฏิบัติงานกับเครื่องจักร ต้องมีสมาธิกับเครื่องจักร ไม่พูดคุยกับเพื่อน
  10. อย่าปล่อยให้เครื่องจักรทำงานโดยไม่คอยควบคุม
  11. บริเวณที่ปฏิบัติงานควรมีแสงสว่างที่พอเพียง

งานกลึง

ส่วนประกอบของเครื่องกลึงยันศูนย์

เครื่องกลึงยันศูนย์มีส่วนประกอบที่สำคัญๆ อยู่หลายชิ้น สามารถแยกเป็นส่วนประกอบใหญ่ๆ ได้เป็น 5 ส่วนสำคัญคือ

  1. หัวเครื่องกลึง (Head Stock)
  2. แท่นเลื่อน (Carriage)
  3. ยันศูนย์ท้าย (Tail Stock)
  4. ฐานเครื่องกลึง (Bed)
  5. ระบบป้อน (Feed Mechanism)

การกลึงเรียว

  1. กลึงเรียวปรับองศาป้อมมีด
  2. กลึงเรียวปรับเยื้องศูนย์ท้ายแท่น
  3. กลึงเรียวโดยใช้ชุดอุปกรณ์พิเศษ

งานกัด

เครื่องกัดที่ใช้มี 3 ชนิด

  1. เครื่องกัดตั้งมีดกัด คือ เอ็นมิล
  2. เครื่องกัดนอนมีดกัด คือ คัตเตอร์
  3. เครื่องกัดพิเศษ

งานตัด

เครื่องเลื่อยที่ใช้มี 3 ชนิด

  1. เครื่องเลื่อยกล
  2. เครื่องเลื่อยสายพาน
  3. เครื่องเลื่อยวงเดือน

งานไส

เครื่องเลื่อยที่ใช้มี 2ชนิด

  1. เครื่องไสตั้ง
  2. เครื่องไสราบ

งานเจียระไน

  1. เครื่องเจียระไนลับเครื่องมือ(Bench Grinder)       มีทั้งแบบชนิดตั้งพื้น และชนิดตั้งโต๊ะ เป็นเครื่องเจียระไนที่ใช้ลับงานทั่ว ๆ ไป เช่น ลับมีดกลึง ลับดอกสว่าน เป็นต้น
  2. เครื่องเจียระไนราบ   (Surface Grinder Machine) เป็นเครื่องเจียระไนที่ใช้เจียระไนชิ้นงานแบนหรือเหลี่ยม ให้ผิวเรียบ โดยล้อหินจะหมุนอยู่กับที่ โดยโต๊ะงานจะเคลื่อนที่ผ่านไปมา
  3. เครื่องเจียระไนทรงกระบอก (Cylindrical Grinder Machine) เป็นเครื่องเจียระไนที่ใช้เจียระไนผิวงานทรงกระบอก  เช่น เพลา  โดยที่ล้อหินจะหมุนตัดชิ้นงานด้วยความเร็วสูงและชิ้นงานจะหมุนรอบตัวเองและเคลื่อนที่ผ่านไปมา
  4. เครื่องเจียระไนลับมีดตัดและเครื่องมือ (Cutter And Tool Grinder Machine) เป็นเครื่องเจียระไนที่ออแบบมาเพื่อใช้ลับเครื่องมือตัดโดยเฉพาะ เช่น มีดกัด รีมเมอร์ ดอกสว่าน เป็นต้น

งานเจาะ

  1. เครื่องเจาะตั้งพื้น
  2. เครื่องเจาะตั้งโต๊ะ
  3. เครื่องเจาะเรเดียล

การลับมุมดอกสว่าน

ปลายดอกสว่านประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ หลายส่วน มุมที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งอยู่ปลายดอกสว่านได้แก่

มุมจิก (Point Angle)

มุมหลบ (Lip Clearance Angle)

ดอกสว่านที่ใช้เจาะโลหะโดยทั่วไป มุมจิก (Point Angle) 118 องศา และมุมหลบ (Lip Clearance Angle) ประมาณ 12 องศา แต่อย่างไรก็ตาม มุมทั้งสองของดอกสว่านขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุ การลับดอกสว่านต้องสังเกตคมด้านนอก (Outer Corner) ต้องสูงกว่าคมเลื้อยด้านหลัง (Trailing Corner) ดังในภาพ และเอียงเป็นมุมประมาณ 12 องศา

 

สูตรการคำนวณความเร็วรอบ

RPM        =       CS   x  1000

¶ D

RPM      =             ความเร็วรอบ        (รอบ/นาที)

CS          =             ความเร็วตัด          (เมตร/นาที)

D             =             เส้นผ่านศูนย์กลางชิ้นงาน               ( มม.)

¶              =             3.1416

สูตรการคำนวณอัตราทด

i              =             n1

n2

i              =             d1

d2

n1           =             d2

n2                           d1

n1.d1     =             n2.d2

i               =             อัตราทด

n1           =             ความเร็วรอบของล้อขับ     (รอบ/นาที)

n2           =             ความเร็วรอบของล้อตาม   (รอบ/นาที)

d1           =             เส้นผ่านศูนย์กลางของล้อขับ            (มม.)

d2           =             เส้นผ่านศูนย์กลางของล้อตาม          (มม.)

 

เครื่องกลึง 

 

เครื่องกลึง  (Lathe)  เป็นเครื่องจักรกลที่มีความสำคัญมาก  มีใช้กันอย่างตั้งแต่ยุคต้น ๆ เป็นเครื่องมือกลประเภทแปรรูปโลหะทรงกระบอกเป็นหลัก  สำหรับกลึง  เจาะ  คว้านรูได้มากมาย  เพื่อผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักรเครื่องยนต์กลไกต่าง ๆ สำหรับงานผลิตและงานซ่อม  งานอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนต้องมีเครื่องกลึงเป็นหลัก  เครื่องกลึงจึงได้ชื่อว่า  ราชาเครื่องกล  (The  King  of  all Machines)

 

การเขียนแบบสั่งผลิต (Working Drawings)

2015-11-10 11.24.41_resized.jpg

คำนำ

               รายงานเล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อต้องการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาในงาน  การเขียนแบบสั่งผลิต (Working Drawings)  เพื่อให้เข้าใจ ถึงความหมาย และความสำคัญของ การเขียนแบบเพื่อสั่งผลิต ให้มีความรู้  ความเข้าใจ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของนักเรียนนักศึกษา ต่อไป

                อนึ่ง กระผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่นนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อ นักเรียน นักศึกษา และท่านผู้อ่านไม่มากก็น้อย

 

 

                                                                                    นายไพฑูรย์      นัดไป

                                                                                              ผู้จัดทำ

 

 

 

 

 

การเขียนแบบสั่งผลิต (Working Drawings)

แบบสั่งงาน (Working Drawings) หมายถึง แบบ (drawing, plan) หรือ พิมพเขียว (blueprint) ที่เขียน ขึ้นมาเพื่อแสดงความสัมพันธของชิ้นงาน (parts) ที่ประกอบกันขึ้นเปนเครื่องจักร สวนของเครื่องจักร หรือ ระบบใดระบบหนึ่ง โดยแสดงใหเห็นวา ชิ้นสวน หรือเครื่องจักรมีลักษณะรูปรางอยางไร ประกอบกันอยู อยางไร หรือชิ้นสวนหนึ่งประกอบดวยชิ้นสวนยอยกี่ชิ้น ชิ้นไหนประกอบอยูตําแหนงใด เพื่อใหชางกลโรงงาน หรือผูผลิตสามารถผลิตชิ้นสวน หรือเครื่องจักรไดอยางถูกตอง แบบสั่งงานแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก

  1. แบบแสดงรายละเอียด (Detail Drawings) มีหนาที่แสดงรายละเอียดตางๆ ของแตละชิ้นสวน (individual parts) ในสวนประกอบใหญ (assembly) ชื่ออื่นๆ ที่ใชเรียกแบบแสดงรายละเอียด     ไดแก แบบรายละเอียด แบบแยกชิ้น (ดูรูปที่ 1)
  2. แบบประกอบ (Assembly Drawings) มีหน้าที่แสดงว่าแต่ละชิ้นส่วนมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ประกอบเข้ากันเป็นส่วนประกอบใหญ่ หรือผลิตภัณฑ์สุดท้ายได้อย่างไร (ดูรูปที่ 2)

แบบแสดงรายละเอียด (Detail Drawings)

แบบแสดงรายละเอียด ประกอบดวยรายละเอียดของชิ้นงานที่สําคัญ ที่จําเปนตองทราบ เมื่อตองการ สรางชิ้นงานนั้นขึ้นมา โดยทั่วไปนิยมเขียน 1 ชิ้นงานตอแบบ 1 แผน (monodetail, ดูรูปที่ 3) แตในทางปฏิบัติเรา สามารถเขียนหลายๆ ชิ้นงาน (ที่มีความเกี่ยวของกัน) อยูในแบบแผนเดียวก็ได (multidetail, ดูรูปที่ 4) เพื่อเปน การประหยัดเวลาและคาใชจาย รายละเอียดตอไปนี้ ควรจะมีอยูในแบบแสดงรายละเอียด

  1. Shape Description หรือ รูปรางของชิ้นงาน โดยปกติจะนิยมเขียนแบบ Orthographic เหตุผลหนึ่ง คือ เพื่อใหเห็น true length ของชิ้นงาน สําหรับชิ้นสวนที่มีรายละเอียดภายในชิ้นงานมาก ทําใหเวลาเขียน ภาพฉาย จะมีเสนตัดกันเปนจํานวนมาก ก็อาจใชภาพตัดขวาง (sectional view) ชวยในการอธิบายได ในกรณีที่ใชโปรแกรม CAD เราสามารถใชภาพ 3 มิติ (3D Model) เพื่อชวยในการอธิบายรูปรางให ชัดเจนยิ่งขึ้น
  2. Size Description หรือ การบอกขนาด (dimensioning) ใหระบุขนาดชิ้นงานโดยละเอียด เทาที่จําเปน
  3. Notes หรือ บันทึกขอความ (ถึงชางในโรงงาน) ซึ่งอาจจะเปนคําอธิบายวาจะใชเครื่องมืออะไรในการทําชิ้นงานนี้ การเจาะรู ลักษณะของผิวชิ้นงานที่ตองการ คาพิกัดขนาดที่ยอมรับได และอื่นๆ
  4. Title Block หรือ Title Strip หรือ กรอบชื่อแบบ จะประกอบไปดวย ชื่อของชิ้นงาน สถานที่เขียนแบบ หรือ บริษัทเจาของแบบ ชื่อผูเขียนแบบ มาตราสวน วันที่ เลขที่แผน และอื่นๆ (ดูรูปที่ 5)
  5. Scale สเกล หรือ มาตราสวน ในการเลือกสเกล ปกติจะใช 1:1 เรียกวา สเกลเทา (full size) กรณีเขียน ในสเกลยอ ก็อาจใช 1:2 (half size), 1:4, 1:8, … หรือกรณีเขียนสเกลขยาย ก็สามารถใช 2:1 (double size), 4:1, 5:1, … เปนตน โดยทั่วไปเราจะใชเพียงมาตราสวนเดียวในหนึ่งหนากระดาษ ยกเวนจะมี note ชี้แจงสําหรับรูปที่ใชสเกลแตกตางจากรูปอื่นๆ ในหนากระดาษ